‘Thee Thiranai’: Letters and Visits – The Connection Between People Behind Prison Walls and the Outside World

The high walls of the prison and the strict regulations separate those inside from the outside world. For those who have lost their freedom and are inside, feelings of isolation and even despair about the future may arise. This makes the ability to still have some form of interaction with the outside world—through visits, letters telling them about life outside, and offering encouragement—extremely important. It helps prevent prisoners from feeling completely cut off from society. 

This is reflected in the account of ‘Thee Thiranai,’ an activist from the Fangfueang Prachathipatai group, consisting of vocational students who defend democracy in Thailand. He spent approximately 1 ปี 6 one year and six months behind bars, charged with possessing explosives after ping pong bombs were discovered before a protest 29 on August 29, 2021. 2564 Thee was released from prison on August 11, 2024, after serving his full sentence. 11 on August 29, 2021. 2567 He shared that while incarcerated and without freedom, having any means to stay connected with the outside world—whether through letters or visits from family—was crucial in sustaining his morale.

Even though he has now returned to the outside world, what he hopes for most is a pardon for all political prisoners. He believes this will provide a path for Thai society to move forward once again.

 

Wanting to See “Encouragement is a big deal, so are strong will, toughness and endurance.” Petchlada concluded at the end of the conversation, emphasizing the strong spirit of this mother amidst the difficult and exhausting situation. She is waiting for her son to return so they can be together again and live a normal life.Our Home Improve: The Reason for Political Engagement

Thee began his political activism in early 2020. 2563 He said that the main motivation for his involvement was the economic impact and the COVID-19 pandemic under the leadership of Prime Minister General Prayut Chan-o-cha. His family’s seafood business was hit hard by the economic downturn during the COVID crisis. Additionally, his uncle’s small grocery store struggled each day as large-scale convenience stores continued to expand in his local neighbourhood. This led him to question whether there was any remaining opportunity or space for small people with no power in society to have a say.

“Encouragement is a big deal, so are strong will, toughness and endurance.” Petchlada concluded at the end of the conversation, emphasizing the strong spirit of this mother amidst the difficult and exhausting situation. She is waiting for her son to return so they can be together again and live a normal life.“I see the country as being like our home. It's not just like our home, it is our home. I just want it to get better,”Thee explained, sharing his reasons for getting involved in political activism. He became involved because he hoped to see the country change for the better.

Thee said that he participated in protests frequently starting in 2020. 2563 Despite concerns and warnings from those around him, he believed that the movements at that time could lead to positive change for the country. Later, he joined the Fangfueang Prachathipatai group, also known as the group of vocational students who defend democracy in Thailand, in the role of a ‘guard,’ ensuring the safety of protesters and preventing third parties from causing chaos. At the same time, , the shooting of his close friend, ‘Bank,’ who was hit in the hip during a protest in late 2020 at the Kiak Kai intersection, further motivated Thee to continue participating in protests.

Thee was charged with possession of explosives under the Firearms, Ammunition, Explosives, and Fireworks Act after 10 ping pong bombs were found when police searched his motorcycle at a checkpoint near the Nang Leung intersection, ahead of a planned protest 29 on August 29, 2021. 2564 The protest, known as the “Call (Prayut) Out Car Mob,” CAR MOB CALL (ประยุทธ์) OUT was organized by several groups demanding the resignation of Prime Minister General Prayut Chan-o-cha.  Laterthe investigating officer filed a request for Thee’s detention with the Criminal Court on August 30, 2021. The court allowed his detention but granted him bail with an electronic monitoring anklet (EM).

After a lengthy legal battle, on February 15, 2023, 15 กุมภาพันธ์ 2566 the court of first instance sentenced...อาวุธปืนฯ ฐานมีวัตถุระเบิดซึ่งนายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ไว้ในครอบครอง โดยให้จำคุก 6 ปี แต่ลดโทษกึ่งหนึ่งเนื่องจากให้การรับสารภาพ คงเหลือจำคุก 3 ปี โดยธีไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัวในช่วงการต่อสู้ในชั้นอุทธรณ์

จนกระทั่งวันที่ 16 กรกฎาคม 2567 ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาแก้คำพิพากษาของศาลขั้นต้น เป็นลงโทษจำคุก 3 ปี แต่การสารภาพจึงทำให้ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 1 ปี 6 เดือน ทำให้วันที่ 11 สิงหาคม 2567 ธีพ้นโทษหลังถูกคุมขังมา 544 วัน หรือประมาณ 1 ปี 6 เดือน

ธีบอกว่า เมื่อต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจำครอบครัวของเขาได้รับผลกระทบทางจิตใจมากพอสมควร โดยเฉพาะคุณย่าซึ่งเป็นคนที่ธีสนิทด้วยมาตั้งแต่เด็กๆ

“ผลกระทบคือด้านจิตใจเป็นหลักถ้าสำหรับฝั่งครอบครัวผมนะ ตอนพ่อแม่ไปเยี่ยมเราให้กำลังใจเขา คือเขาเข้ามาพร้อมน้ำตาที่มาเห็นหน้าเรา จนเราบอกว่าถ้ารอบหน้าแม่เข้ามาแล้วร้องไห้ไม่ต้องมานะ แต่คุณย่าผมไม่กล้ามาเลย เยี่ยมไลน์รอบเดียว เราบอกอาว่าไม่ต้องเยี่ยมแล้ว เยี่ยมแค่รอบเดียวพอ เราสงสารย่า ย่ามานั่งร้องไห้ ย่าไปบนนู่นไว้นี่ไว้ ย่าผมรักผมมาก จนผมได้ออก คือแกก็ร้องไห้ ก็ดีใจ ผมอยู่กับย่ามาตั้งแต่เด็กเลยครับ”

ธีบอกว่ายังจำได้ดีถึงนาทีเดินออกจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2567 ว่า คุณย่าของเขามารอรับอยู่ด้านหน้าพร้อมของรับขวัญและน้ำตาแห่งความดีใจ เช่นเดียวกับที่ได้กำลังใจจากเพื่อนนักกิจกรรมและครอบครัวของพวกเขาด้วย

“เราเดินมาเราเห็นละ วันนั้นมันเป็นวันที่ 11 เราเห็นย่าเราแล้ว เขาคิดว่าเราจะร้องไห้ เราไม่ร้องหรอกพี่ เราก็เจอย่าเราร้องไห้ ก็เจอญาติเรา เจอพวกตะวัน เจอแม่เก็ท ก็บอกอิสระแล้วนะ ย่าเราเอาเสื้อมาเปลี่ยนให้ รับขวัญให้เงินให้ทอง แล้วแม่เก็ทก็มากอด บอกว่าอิสระแล้วนะลูก ถามว่าดีใจไหม ก็ดีใจนะพี่” ธีกล่าว  

 

การไม่ถูกตัดขาดจากโลกภายนอกอย่างสิ้นเชิง คือกำลังใจของคนหลังกำแพงเรือนจำ   

ธีบอกว่าความรู้สึกเมื่อต้องเข้าเรือนจำก็คือ ช็อกกับสภาพแวดล้อมจนทำให้นอนไม่หลับในช่วงแรก แต่ก็พยายามปรับตัว อย่างไรก็ตาม การที่เขาไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัวระหว่างการอุทธรณ์แม้ทนายได้ยื่นประกันตัวไปหลายครั้ง ก็ทำให้มีความอึดอัดอยู่ไม่น้อยเวลาคุยกับทนายระหว่างที่ตัวเองก็ยังถูกคุมขังในเรือนจำ

“มันก็ลำบากพี่ คือเราพูดอะไรมากก็ไม่ได้ คือในห้องทนายเราก็ไม่รู้ว่าใครต่อใครมาบ้าง” ธีกล่าว

ธียอมรับว่าการไม่ได้รับอนุญาตประกันตัวตลอดเกือบ 1 ปี 6 เดือน ก็มีส่วนบั่นทอนกำลังใจ แต่ระหว่างนั้นเขาก็พยายามรักษาความหวังด้วยการบอกกับตัวเองว่า พรุ่งนี้ต้องดีขึ้น มากกว่าการจมอยู่กับสภาพความเป็นอยู่ที่ต้องเจอในเรือนจำ

“อยู่ข้างในผมพูดกับตัวเองว่า พรุ่งนี้ของตัวเองมันต้องดี พรุ่งนี้มันต้องมีเรื่องดีๆ จนแบบเราได้ออก มันต้องแบบ เฮ้ย วันนี้แย่ เดี๋ยวพรุ่งนี้มันต้องดีขึ้นเอง คือเราก็ประคองจิตใจตัวเอง

แต่นอกจากนั้น สิ่งที่หล่อเลี้ยงความหวังและกำลังใจของเขาก็คือ การที่รู้สึกว่าไม่ได้ถูกตัดขาดจากโลกภายนอกอย่างสิ้นเชิงแม้อยู่หลังกำแพงเรือนจำ โดยสิ่งที่เชื่อมโยงเขาไว้กับโลกภายนอกคือการเยี่ยมของญาติ การได้รับจดหมายจากแฟน เพื่อน และครอบครัว เนื่องจากเป็นช่องทางที่เขาได้รับกำลังใจและคำบอกเล่าความเป็นไปของผู้คนและสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกภายนอก

“เราก็ได้จดหมายเมล (Domimail) ได้จากแฟน ได้จากเพื่อน จากพี่จากน้อง คือจดหมายมันเป็นกำลังใจที่ดีมากๆ เลยพี่ คือทุกคนช่วงบ่ายสองบ่ายสามมาคือทุกคนจะนั่งรอ จดหมายเมลวันนี้ของเราจะเข้าหรือเปล่า ญาติคนไหนจะเขียนมา เพื่อนคนไหนจะเขียนมาหาเราบ้างนะ เรารออ่าน เรารอเขียนตอบกลับ คือทุกการใช้ชีวิตข้างในมันเป็นแค่นี้เอง เรื่องจดหมายเมลเป็นเรื่องที่สำคัญ วันนี้จะมีใครมาเยี่ยมเรารึป่าว เช้ามามีใครจองเยี่ยมไลน์เราบ้างรึเปล่า เป็นเรื่องที่สำคัญมาก มันเหมือนเราไม่ได้ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก มันเหมือนเป็นดวงใจเล็กๆ มันที่สุดสำหรับคนข้างในแล้วอ่ะ” ธีกล่าว

ทั้งนี้ เมื่อช่วงเดือนพฤศจิกายน 2566 ธีได้ย้ายมาอยู่แดน 4 หลังเขาทำเรื่องขอย้ายแดนเนื่องจากมีปัญหากับผู้ต้องขังด้วยกันบางคน ซึ่งการย้ายมาแดน 4 ทำให้เขาได้อยู่กับนักกิจกรรมทางการเมืองคนอื่นๆ ได้แก่ อานนท์ นำภา เก็ท-โสภณ สุรฤทธิ์ธำรง และสมบัติ ทองย้อย ซึ่งเขาบอกว่าการที่ทุกคนให้กำลังใจกัน ก็มีส่วนทำให้เขายังรักษาพลังใจของตัวเองเอาไว้ได้เช่นกัน

 

นิรโทษกรรมให้นักโทษการเมืองทั้งหมด คือการปลดล็อกความขัดแย้ง

หลังพ้นโทษเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ธีบอกว่าการกลับไปเรียนหนังสือในระดับมหาวิทยาลัยก็คือหนึ่งในเป้าหมายของชีวิตของเขา แต่ขณะเดียวกัน อีกความหวังใหญ่ที่อยากให้เกิดขึ้นในระยะเวลาอันใกล้นี้ก็คือ การที่เพื่อนนักโทษการเมืองได้รับการนิรโทษกรรม

ตั้งแต่พ้นโทษธีได้เข้าร่วมงานกิจกรรมของภาคประชาชนที่ผลักดันประเด็นนิรโทษกรรมผู้ต้องขังทางการเมืองอยู่หลายครั้ง เขาบอกว่าอยากมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประเด็นนี้ให้สำเร็จ โดยธียืนยันว่า ไม่ใช่เพราะการนิรโทษกรรมอาจจะทำให้เขาได้ประโยชน์ด้วยเพราะจะถือว่าไม่มีความผิด ประวัติการถูกดำเนินคดีจะไม่กลายเป็นอุปสรรคต่อการทำงานในอนาคต แต่การนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองทั้งหมด ซึ่งรวมถึงคดีอาญา มาตรา 112 ที่ดูจะกลายเป็นใจกลางข้อถกเถียงเกี่ยวกับการนิรโทษกรรมตอนนี้ คือการช่วยให้สังคมไทยได้เดินหน้าไปด้วยกันอีกครั้งหลังอยู่กับความขัดแย้งมายาวนานเกือบ 2 ทศวรรษ  

“นิรโทษกรรมหมายถึงทุกคดี ผมรักความสงบอยู่แล้ว ไม่ได้ชอบความขัดแย้ง ถ้านิรโทษกรรมครั้งนี้มันตั้งแต่ปี 2548 ยันปัจจุบัน ผมเชื่อว่ามันช่วยปลดล็อกความขัดแย้งได้ ผมอยากให้มันล้างไพ่ไปก่อน อนาคตเราไม่รู้ว่ามันจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง” ธีอธิบาย

“คือผมมองว่า ตอนนี้เราควรจับมือและเดินหน้าไปด้วยกัน ขับเคลื่อนประเทศชาติไปด้วยกัน คือหยุดการทะเลาะกันในประเทศได้แล้ว เรามองปัญหาใหญ่ดีกว่า เรื่องเศรษฐกิจอันดับแรกเลย ถ้าอะไรไม่เป็นธรรม เราคุยกัน มาปรับความเข้าใจกัน ลดอีโก้ลง มานั่งคุยกันแก้ปัญหาดีกว่า เพราะเรื่องนิรโทษฯ มันก็เป็นเรื่องใหญ่ เป็นปัญหาทางการเมือง เราก็เส้นทางเดียวกันแล้วอ่ะ เราก็คนไทยเหมือนกัน ปัญหาใช่ เราทะเลาะกัน เราควรมาจับมือแล้วคุยกันดีกว่า เราเดินไปด้วยกันดีกว่า

“ไม่รู้ว่าหวังสูงหรือเปล่า แต่ขอหวังสูงไว้หน่อย นิรโทษฯ 112 ผมคิดว่ายังไงก็ต้องมี” ธีกล่าวทิ้งท้าย ย้ำว่ายังมีความหวังว่า การนิรโทษกรรมที่เกิดขึ้นในอนาคตควรครอบคลุมทุกคดี  

Share This Story

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า